2020年9月13日日曜日

Rueang Chaya Phra 00:58


❝Siamese Language …

2 件のコメント:

Searched message 2 さんのコメント...

#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ ถีนมิทธะ ‹ ?

“อธิบายอย่างไร?ทีนี้ เพราะท่านจะว่าโดยองค์ ก็ย่อมจะอธิบายไม่ได้ อย่างดี ก็ลงหัวข้อเดิม ไว้เท่านั้น เพราะว่า เป็นหมวดเวทนา จะเป็นโดยองค์ หรือบุคคล ไปได้กระไร

หรือว่า? ว่าท่านปวด! หรือว่า ท่านสุข! เช่นนี้ หรือ? คือจะถือว่าโดยองค์ เป็นคำศัพท์คำเดียว มาตีแผ่ ...แล้ว แต่ว่าคำว่าเวทนา ย่อมไม่ได้ว่าอย่างนั้น เพราะอาจจะสับสน และเหมือนว่า จะเป็นไปโดยภายนอก หรือว่าภายใน เวทนาที่เป็นภายนอก คืออย่างไร? เช่นนี้ เป็นโดยองค์ ได้หรือ? หรือว่าเวทนาที่เป็นไปภายใน เป็นโดยองค์ พุโธ่! ว่าเช่นนี้ ย่อมให้ว่าแต่วิชาสับสน!

ซึ่งจริง ๆ เรื่อง วิชาสับสน ให้อาจมีหลักก็ได้ คือถ้าท่านว่า โดยหลัก สักแต่ว่าพ้น หรือไม่ยึดถือ เป็นต้น ให้พ้นตัว คือถือว่า เร่งคนึง ลงไปตรงแต่จะปล่อยวาง เป็นต้น อันปัญหาจะเท่าภูเขา หรือเภทภัยเท่ากับมหาสมุทร นั่นก็คงไม่ทำให้เกิดสับสน ไปต่อทุกข์ ถึงกระไร จึงจะถือว่า เป็นเวทนาเช่นนั้น

คืออันที่ ท่านจัดว่า เป็นเวทนา ที่เป็นไปในทางภายนอก” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “ถีนมิทธะ” ดูอ้าง rb.gy/ynrg3q )

suwanna phum さんのコメント...

#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ มหามุนี ‹ ?

“เมื่อ? ตามหาทาง หนังสือราชกิจฯ ฉะนั้น ท่านนักศึกษาเรา พึงจะต้อง หา และค้นคืบไปสู้ความบริบูรณ์แห่งชีวิต หนึ่ง นั้นด้วย คือ เรื่อง , นางนกยางถือศีล ไปตามทางไกลเหล่านั้น นั่นเอง นกวิเศษประพฤติ นั้น อยู่ที่ใด แต่เพราะเชื่อว่าเป็นความอัศจรรย์ มหัศจรรย์ ในทาง ฉะนั้น , มิใช่แค่สมมุติ ว่าเรื่องการยักเยื้อง แต่สัพเพเหระ งานพิธีการอะไร? อยู่ทุกเมื่อ มากเกินไป ซึ่งว่า ในทางการเรียน ตามบทหนังสือ ที่เป็นโวหาร พระธรรม แผนกชาวบ้าน ร้านโรง เขต ที่ประชาชนจะรู้เรื่องไป เท่านั้น , คงได้แปลวิเศษไปแล้ว คือนกสีขาว ย่อมเป็นดั่งพระโพธิสัตว์ พระแม่กวนอิน ไปแล้ว ซึ่งเรื่องอาจจะยังไม่ได้ ให้ ประชาชนธรรมดารู้ไปตามอย่างภาษาไทย ว่าลงไปสักตัวอย่างหนึ่ง บ้างเลย ในการที่ ยอดพระวีรสตรี จะพบเห็นได้โดยธรรมดา ในตามเส้นทาง เหล่านั้น ในเรื่องตรานก มีสี? หรือธงนก อะไร? มาจากวีรบุรุษ แลวีรสตรี นั้น

ดั่งนี้ แล้ว ก็พึงน่ายก แด่ คำศัพท์ แด่ที่พึงควรจะติดตามดู เช่นว่า ศัพท์ ธงฺก ป. กา, นกยาง, เหยี่ยว , อามิสปฺปิย ป. นกที่กินเนื้อสด, นกยาง , กํก กงฺก (ปุ.) นกอีลุ้ม, นกเหยี่ยวแดง, นกกระสา. กํกฺ โลลิเย, อ. เป็น กํกล กงฺกล โดยลง อล ปัจ. บ้าง. ส. กงฺก นกยาง พระยม. , ธก ธงฺก : (ปุ.) นกกา, นกยาง. ธกฺ ธํกฺ โฆรวาสิเต, อ. นกเหยี่ยว, ธกฺ ธกํ ปริฆาเต, อ. , เสตปตฺต (ปุ.) นกมีปีกสีขาว, นกยาง. , พก (ปุ.) นกยาง, นกยางโทน ชื่อนกยางชนิดหนึ่ง. วิ. วกติ โคจรํ อาททาตีติ พโก. วกฺ อาทาเน, อ, วสฺส โพ. เวสฯ เป็น พกฺอาทาเน. , พลาก (ปุ.) นกยาง, นกยางกรอก. , สุกฺกกาก (ปุ.) นกยาง, กาขาว, กาเผือก.

ซึ่งเรื่องนก และนกยางถือศีล ค่อนข้าง นับเนื่อง จะให้เห็นมหัศจรรย์ ยิ่งใหญ่ ในทางชีวิตมนุษย์ ด้วย และเผื่อ ได้ให้มีสิ่งดีต่อใจ ดีกว่าเรื่องอื่น ที่ซึ่งเรื่องอื่น ๆ มุ่งหมาย แต่การ ต่อว่า ด่ากัน ลงไป ในทางสาปส่ง ก็คงแต่โดยมาก สู้ให้ขยาด จิตใจ จะอ่านจะดู สู้บอก แต่ความโอ้โลม จะให้ต้องยินยอมแต่ความลี้ลับ เสียโดยมาก , เพราะดูว่า ท่านไม่เร่งให้สืบหาตราธง หรือตรานก อะไร? นั้น กันมากบ้าง เท่าไหร่? เลย , ซึ่งธงต่าง ๆ นั้น ก็ดี เป็น ความพัฒนาในทางสัญลักษณ์ อันเราท่าน นักศึกษาตามแผนกไทย ก็ไม่เคยแพร่หลายนัก ว่าปรากฏว่ามีเรื่อง ทั้งที่เรามีบท การถือแน่ว ตรง ในศีล ในเรื่องแห่งการสร้างอัตลักษณ์ คลุมห่มชีวิต ด้วยแด่การแต่ต้องตราชื่อ ตราสัญลักษณ์ ตราพินทุ ไปด้วยคติธรรม ทางศิลปคดี ทั้งโลกทั้งธรรม แห่งสิ่งของ ที่พระพุทธเจ้าประทาน ให้มีพุทธานุญาต โดยความที่ การบวช เข้าเป็น ข้าพุทธบริษัททุก ๆ พวก พึงควรจะต้องยึดถือ” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “มหามุนี” ดูอ้าง rb.gy/yq4fqe )

Due which names are the same Just bypassed it …