2020年9月3日木曜日

Rueang Chaya Phra 00:48


❝Siamese Language …

2 件のコメント:

Searched message 2 さんのコメント...

#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ กฎหมาย ‹ ?

“หาความเชื่อมโยงให้พบ จากคำศัพท์ ดังนี้ คือ สยัง ๑ สยัมปภา ๑ สยัมภู แล สุยามะ ๑.

อีกประการนั้น พึงสำคัญ ว่า อุภย ศัพท์ คือโดยทั้ง๒ จึงจะประกอบไปให้ ซึ่งความเจริญ เช่นพิษณุโลก -กรุงเทพฯ หรือ อุทัยธานี -สุโขทัย พวกเรา ก็นับ ว่าพึงถือเป็น อุภยศัพท์ ด้วยกัน เพื่อจะว่าความเจริญไปให้ถึงความหมาย

สำหรับ ปูมใดปูมหนึ่ง ตรงคำว่า แผนดิน! หากจะว่ายกความ เกี่ยวแก่พระราโชบาย ท่านก็พึงเห็นแต่การ จะนับ ไปถึงสมัยสุโขทัย ว่ากันขึ้นมา ให้จงมาก และหนัก ซึ่งตามหมายเหตุ ซึ่งคือเรื่องเมื่อนั้น มาต่อเมื่อนี้ พวกเรา ก็มายอมรับอังกฤษกันมาก ๆ ไปเสียเถิด (Roman Script) เพราะชื่อว่าสมัยแห่งการเดินเรือมาก ๆ ดี จรดความตลอดมา ต่อมานี้ คนเข้าเรียกแต่ประเทศอังกฤษกันว่า ‘เป็นดินแดนที่ไม่มีพระอาทิตย์ตกดิน’ คือในสมัยหนึ่งอังกฤษได้ไปอยู่ทุกอาณาบริเวณทั่วโลก ก็เถ้อะ , แต่!แค่นั้นเรานับแต่ว่า หากขึ้นชื่อแบบนั้น ก็คือขึ้นชื่อ เมืองสุโขทัยของพวกเรานี้” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “กฎหมาย” ดูอ้าง rb.gy/rqwqnd )

Searched message 2 さんのコメント...

#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ ไวยาวัจกร ‹ ?

หัวข้อ?
สาวกบริษัท และพุทธบริษัท?

“เรื่องดั่งนี้ ถ้าเราเป็นชาวบ้าน จะอย่างไร? ที่จำเป็นจะต้องอยู่ แต่ยังรัก แต่ยังชังแบบโลก เท่านั้น ก็น่าจะ เรียกว่า ให้บอก ให้ถาม ให้ขอ เรียกสิ่งของ หรือทรัพย์นั้นกับภรรยา ได้ ๖ ครั้ง ถึงครั้งที่ ๗ ไม่ได้อย่างแน่นอน ก็เป็นอันพึงโพนทะนา ควรจะประณาม ได้เลยว่า ภรรยาเช่นนั้น กำลังประพฤติผิด ต่อทรัพย์สินของสามี , ตรงนี้ ไม่ใช่แต่พูดเทียบ เล่น แต่ว่า น่าจะจริง เพราะดูความลี้ลับ เพราะว่าภรรยา ก็พุทธบริษัทสาวิกา แลที่สามี ๆ ก็เป็นสาวกบริษัท ด้วย ที่ได้ให้ตน แสดงการยกย่องภรรยาแล้ว ภรรยาก็จึงได้เป็นใหญ่ในเรือน และโภคทรัพย์ ของสามี ฉะนั้น ถึงที น่าจะเทียบไปดู รู้ในกับข้อนี้ ว่าท่านจะทวงถาม แก่สำคัญ ท่านจะถามบริษัท มากน้อย สักกี่ครั้ง แล้วจะพึงควร กระทำไปตามประเพณีซึ่งการปล่อยวาง

ตรง ความพระวินัย ย่อมว่า ธรรมนั้น ๆ ไปประการเช่นนี้แล้ว ให้เห็นว่า

“...ภิกษุทวงอยู่ เตือนอยู่ สอง สามครั้ง ยังไวยาวัจกรนั้น ให้จัดจีวรสำเร็จได้ การให้สำเร็จได้ด้วย อย่างนี้ นั่นเป็นการดี ถ้าให้สำเร็จไม่ได้ พึงยืนต่อหน้า ๔ ครั้ง ๕ ครั้ง ๖ ครั้ง เป็นอย่างมาก เธอยืนนิ่งต่อหน้า ๔ ครั้ง ๕ ครั้ง ๖ ครั้ง เป็นอย่างมาก ยังไวยาวัจกรนั้นให้จัดจีวรสำเร็จได้ การให้สำเร็จได้ ด้วยอย่างนี้ นั่นเป็นการดี ถ้าให้สำเร็จไม่ได้ ถ้าเธอพยายามให้ยิ่ง กว่านั้น ยังจีวรนั้นให้สำเร็จ เป็นนิสสัคคิย...”

ดูอ้าง ฉบับ มมร เล่ม ๓/๘๔๘
ขออธิบายเพิ่มเติม ว่า บางแห่ง ทั้งตรงนี้ และในพระไตรปิฎกเอง นั่นเอง ใช้ศัพท์ว่า ‘ไวยาจักร!’ , คือ เป็นที่ ตรงบางคน ๆ วัด ท่านก็ไปเรียกดั่งนั้น ด้วยกัน ซึ่งที่จริง หากต้องว่า ไวยาวัจจักร, หรือ ‘ไวยาจักร’ ไปแล้ว ๆ จะแปล ให้ได้ความสมบูรณ์ถูกต้องอย่างไร? ก็ขอฝากท่านผู้รู้ ทั้งปวง ว่าท่านจงได้ให้อภิปราย ต่อคำที่เพริศ และดี อันพวกเราพากันตั้งแล้วนี้ ไว้ด้วย ซึ่งเป็นการอันควรจะได้แต่งความหมาย ตามไปยิ่งขึ้น ว่าจงให้ได้ลงเป็นบัญญัติ.

ความเรื่อง: กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “ไวยาวัจกร” แล้ว ดูไปจาก อ้าง rb.gy/5g3myx

Due which names are the same Just bypassed it …