คำหลัก แต่เริ่มเดิมมา ท่านว่า“พระมหากัสสปะชักชวนสังคายนา แต่ท่านไม่ขอกล่าว ท่านว่า ขอทรงจำไว้แต่ที่ได้รับมาเฉพาะพระพักตร์ แล้วดำเนินการไปเอง”เช่นนี้ สรุป! เหตุการณ์ ว่านิกายก็น่าที่จะ พึงมี ด้วย ๒ ประการ นี้คือ๑. ณ ที่สมมุติประชุมแล้ว กระทำมติ ว่าตามมติ๒. เข้าที่รับมาเฉพาะพระพักตร์ แล้วท่านไม่ขอกล่าวด้วยดังนี้ จะเห็นได้ว่า ศัพท์ “นิกาย”ท่านย่อมแทนการเรียก ไปอย่างคนภายนอก ยกชื่อนั้นขึ้นเรียก ขนานนาม กันไป ลงตามข้อสมมุติสังเกต นั้น ๆ เช่นปัจจุบันนี้ ที่มักขนานนาม กันไปว่า มี ๔ นิกาย นี้ คือ นิกายไม่เอารูปเคารพ, นิกายกินผัก, นิกายถือด้วยตำรา และนิกายไม่ถือด้วยตำรา (ถือมุขบาฐ) เป็นต้น ว่าดั่งนี้ ก็ไว้เป็นอย่าง ๑แล้ว อีกประการหนึ่ง ฉะนั้น ก็กล่าวอยู่แล้ว คือยันกันขึ้น เป็นที่เกียจกัน ต่อกัน ว่า นั่นเป็นสมานสังวาส หรือ นานาสังวาส อันนี้ก็นับว่าเป็นชื่อนิกาย ที่ในวงนักบวช ว่ากล่าวกันเอง ในปวงท่าน หรือเราประชาชนที่รู้เห็น ไม่ได้เป็นผู้ยกชื่อ กล่าวแสดง หรือได้ขนานนามท่านขึ้น แต่ประการไร ๑ข้อประการ ถึงท้าย นี้ ก็คือมุ่งไปตามกล วิธี หรือกโลกบาย ดั่งอุปมา ว่า คือคนทั่วให้ถือดั่งเรื่องที่รับมาเฉพาะพระพักตร์ ฉะนั้นเอง แปลกแต่ว่ากรรมฉะนั้นรับมาต่อหน้าอาจารย์ ไม่ใช่ต่อหน้าพระพุทธเจ้า ครั้งเมื่อ ว่าตามอาจารย์นั้นแล้ว นี้แล้ว ตนไม่ขอมุ่งกล่าวด้วย กับลัทธิ หรือนิกายอื่น พอว่าหมดแล้ว จบเป็นที่ไม่รับด้วยมติ ก็ย่อมเป็นนิกาย อีกอันหนึ่ง ซึ่งไม่เป็นทั้งสมานสังวาส และนานาสังวาส , จรดสิ่งทั้งปวง ไปถึงส่วน คำศัพท์ นิกาย? ในทุก ๆ ทาง ศาสนาอื่น ๆ หากเขาว่ากันมากเข้า โดยย่อ ก็คงต้อง ๒ อย่างเหมือนกัน คือ ๑ นิกายที่ตั้งโดยราชา หรือรัฐฯ แล้วอีก ๑ ก็คือ ที่กล่าวสามัญว่าเป็นสำคัญ ว่าคนได้ตั้งขึ้นไว้ได้นั้น เป็นเพราะการธำรงตนได้ของนักบวช
コメントを投稿
1 件のコメント:
คำหลัก แต่เริ่มเดิมมา ท่านว่า
“พระมหากัสสปะชักชวนสังคายนา แต่ท่านไม่ขอกล่าว ท่านว่า ขอทรงจำไว้แต่ที่ได้รับมาเฉพาะพระพักตร์ แล้วดำเนินการไปเอง”
เช่นนี้ สรุป! เหตุการณ์ ว่านิกายก็น่าที่จะ พึงมี ด้วย ๒ ประการ นี้คือ
๑. ณ ที่สมมุติประชุมแล้ว กระทำมติ ว่าตามมติ
๒. เข้าที่รับมาเฉพาะพระพักตร์ แล้วท่านไม่ขอกล่าวด้วย
ดังนี้ จะเห็นได้ว่า ศัพท์ “นิกาย”
ท่านย่อมแทนการเรียก ไปอย่างคนภายนอก ยกชื่อนั้นขึ้นเรียก ขนานนาม กันไป ลงตามข้อสมมุติสังเกต นั้น ๆ เช่นปัจจุบันนี้ ที่มักขนานนาม กันไปว่า มี ๔ นิกาย นี้ คือ นิกายไม่เอารูปเคารพ, นิกายกินผัก, นิกายถือด้วยตำรา และนิกายไม่ถือด้วยตำรา (ถือมุขบาฐ) เป็นต้น ว่าดั่งนี้ ก็ไว้เป็นอย่าง ๑
แล้ว อีกประการหนึ่ง ฉะนั้น ก็กล่าวอยู่แล้ว คือยันกันขึ้น เป็นที่เกียจกัน ต่อกัน ว่า นั่นเป็นสมานสังวาส หรือ นานาสังวาส อันนี้ก็นับว่าเป็นชื่อนิกาย ที่ในวงนักบวช ว่ากล่าวกันเอง ในปวงท่าน หรือเราประชาชนที่รู้เห็น ไม่ได้เป็นผู้ยกชื่อ กล่าวแสดง หรือได้ขนานนามท่านขึ้น แต่ประการไร ๑
ข้อประการ ถึงท้าย นี้ ก็คือมุ่งไปตามกล วิธี หรือกโลกบาย ดั่งอุปมา ว่า คือคนทั่วให้ถือดั่งเรื่องที่รับมาเฉพาะพระพักตร์ ฉะนั้นเอง แปลกแต่ว่ากรรมฉะนั้นรับมาต่อหน้าอาจารย์ ไม่ใช่ต่อหน้าพระพุทธเจ้า ครั้งเมื่อ ว่าตามอาจารย์นั้นแล้ว นี้แล้ว ตนไม่ขอมุ่งกล่าวด้วย กับลัทธิ หรือนิกายอื่น
พอว่าหมดแล้ว จบเป็นที่ไม่รับด้วยมติ ก็ย่อมเป็นนิกาย อีกอันหนึ่ง ซึ่งไม่เป็นทั้งสมานสังวาส และนานาสังวาส , จรดสิ่งทั้งปวง ไปถึงส่วน คำศัพท์ นิกาย? ในทุก ๆ ทาง ศาสนาอื่น ๆ หากเขาว่ากันมากเข้า โดยย่อ ก็คงต้อง ๒ อย่างเหมือนกัน คือ ๑ นิกายที่ตั้งโดยราชา หรือรัฐฯ แล้วอีก ๑ ก็คือ ที่กล่าวสามัญว่าเป็นสำคัญ ว่าคนได้ตั้งขึ้นไว้ได้นั้น เป็นเพราะการธำรงตนได้ของนักบวช
コメントを投稿