#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ โมคคัลลานะ ‹ ?“บางที ก็ควร จะต้องอ้าง จากที่ทำไว้ล่วงหน้า แล้ว นั้น เพราะการตีขลุมแสดงเหตุผล ตามอย่างที่พวกท่านทั้งปวง กระทำ จะว่ากันอย่างนี้ มันก็ง่ายดีไปอย่างหนึ่งคือ ไม่ต้องมาละเอียด ก็ทันกันง่าย ๆ เช่นนี้ ย่อม สบาย ตามแบบ ของคนที่จะกระทำให้บริบูรณ์ สมบูรณ์ นั้น เมื่อไปอย่างนี้ แล้วนั้น เป็นอันสรุปเลยว่า เป็นเรื่องของอากาศหนาว และเรื่อง สีขาว! มาแต่ชั้น๑ ไปถึง ซึ่งสีแดง อันสีแดง! ก็ย่อมต้องไปอยู่กลางโลกโน่น ตรงไหน? หนาว! ก็มี ผ้าห่มสีกะเฬียวร์ ผ้าเตี่ยวพระย้อมสีอิฐแดง ก็มี ไว้ให้ ใครมาถึง ก็เปรียบตนว่า ฉันนี้ ว่าการแทน อยู่กับพระมหาโมคัลลานะ ว่างั้นก็ได้ เพราะตนจะไปดี กับตำรานี้” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “โมคคัลลานะ” ดูอ้าง rb.gy/uzrxpp )
ถาม-ตอบความ คำศัพท์โวหาร“เข้าใจว่า การบ้านที่แท้สำหรับภูเขาสำคัญ ๆ ก็คือ การ ว่า คำว่าเหนือ แต่! ข้อแม้อย่างหนึ่งก็คือ คำว่ายอด หรือเหนือ ฉะนั้น คงอาจจะเป็นภูเขาไฟ ก็อาจจะต้องคิด ลงในสำนวน หรือการวิจัย ที่ตีแผ่ กันโดยทางภาษา ดังนี้ ด้วยทิศต่าง ๆ ว่าไปแล้ว คือหมายความว่า ทักษิณา คือเบื้อง ขวา เบื้อง หน้าตะวันออก อุตระ คือ ทิศเหนือ คือทีนี้ บางคน นั่น ว่า ยอดภูเขา คือ เหนือ! บนยอดภูเขา นั่นแหละคือ ‘ทิศเหนือ’ ตลบคว่ำ ตลบหงาย หมดที่นี้ อันนี้ก็ต้องมีนัย คือนัย ที่เราต้องตีขลุม ชวนกันไป แล้วจะต้อง มาคิด พินิจดูว่า ภูเขานั้นมันมีโพลงไหม มันมีทวารไหม มันมีฤทธิ์ไหม? ซึ่งคำเปรียบ ก็ย่อมได้มาแล้ว ๒ อย่าง ตามอธิบาย คือ ปะทุ- › ปะทุมะ กับการแทนด้วยเรื่อง อภิบุคคล ว่าคือพระอัครสาวก อย่างนี้ ท่านว่า พระสารีบุตร คือ ยอดภูเขาหิมาลัย เป็นทักษิณ คืออย่างนี้ ยังไม่ว่าด้วยเรื่องพระสังฆบิดร ที่เราพิจารณา ว่าด้วย การแทนที่เป็นสมเด็จพระสังฆราช ตามโวหาร ถึงเรื่องพระอัญญาโกญฑัญญะ กับพระมหากัสสปะ ที่ท่านเป็นสมเด็จพระสังฆราชเรื่อง ที่ชวนพูดเช่นนี้ ก็เพราะเห็น ว่า หัวหน้าเรารับการบ้านไปแล้ว กระเดี๋ยว ก็คนจะสะเทิ้นน้ำ สะเทิ้นบก แล้วเหล่าชนทั้งปวง อาจจะไปไม่ตรงกัน ด้วยกับที่นี้ , ข้าพเจ้าก็ต้องอธิบายบ้าง บอกกับพวกเรา ที่สมมุติ เป็นอีกเหล่าหนึ่ง อันกระทำไปก็เพื่อ จะตัดแนวคิด ที่ฟุ้งเฟื้อย หรือที่เป็นฝอย น้อยทางสานประโยชน์ และเป็นอันที่ไม่พาให้สถิตมั่น ลงไปในทางความรู้ พื้นฐานอันเรื่องนี้ ซึ่งพระโมคคัลลาน์ พระอภิบุคคล ความก็ย่อมเปรียบ แสดงว่า ท่านเป็น อุตระ อยู่บน คือเหนือภูเขาไปนั่นเอง ซึ่งความก็ดั่งเปรียบท่านว่า เป็นทวาร อันมีฤทธิ์ฉะนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะ ก็ย่อมจะได้ตำแหน่ง ณ ยอดภูเขาไฟ ณ ที่ใด อันหนึ่ง ไม่ใช่หิมาลัย นั้น เป็น อุตระ, แต่นี้ แล้ว สำนวน หรือแนวนึกคิดว่า เหนือยอดหิมาลัย คือทิศเหนือ! ย่อมไม่ใช่ เพราะแนวพิจารณาศัพท์ ไม่ให้! คืออธิบาย ย่อมหมายความ ให้เห็นว่า พระสารีบุตร เป็น ทักษิณา (ทักษิณ=ใต้) เป็นอภิบุคคคล ทางขวา (ขาว) อยู่แต่เบื้องพระสัพพัญญูเจ้า แล้วนั้น ทุกขณะ (ทกฺขิณา), ฉะนั้น โวหารพวกหนึ่ง จะใคร่ว่า ทิศ เหนือ (เปรียบ) คือที่บนยอดภูเขา สูงขึ้นไป ทั้งยอดนั้น จะต้องเป็นอุตรา ไม่ได้อยู่แล้ว เพราะพระพุทธเจ้าตรัสว่า เป็นทักษิณา ฉะนั้น , เป็นทาง ขาว ทางขวา ทางใต้แต่! ท่านจะอุปไมยฯ ให้ได้ตัวอย่างแก่สรรพวิชา ในธรรมชาติ ตามสมัยนั้น ๆ ก็จึงจำต้องแสดงว่า อนุมานหนึ่ง เป็น ภูเขาสีแดง (ที่ยอด) อันมีโพลง มีทวาร มียอด เป็นอันมีฤทธิ์ แล้วเมื่อมาถึงคำว่า มีฤทธิ์ คำนี้เอง ย่อมตกแต่อภิบุคคล คือ พระมหาโมคคัลลานะ สรุป!แต่ว่า ท่านจะเปรียบสถิตย์ อยู่บนยอดภูเขาไฟที่ใด นั้น (เหนือ=อุตระ) ก็คงจะเป็นที่อินโดนีเซีย ดอกกระมัง เพราะที่ว่า ภูเขานั้น ได้แสดงฤทธิ์ ประกาศเสียง ให้สะเทือนอากาศมาถึง ทั่วโลก อยู่เรื่อย ๆ, เป็นซึ่งความตีแผ่ นัยชนิดนี้ ข้าพเจ้าคิดอย่างหนึ่งว่า อุตระ ศัพท์ อาจเป็น แผนกที่ไม่กำหนด ลงเป็นประจำ อย่างตราแผนที่แต่นัยหนึ่ง ที่คือ อุตระ ย่อมหมายความว่า หนักทางฤทธิ์ เป็นอะไร? ที่เป็นนัย มี ฤทธามหาศาล สะเทิ้น กระเทือนรุนแรง เป็นปรากฏการณ์ซึ่งสั่นสะเทือนอังคาพยพ ไปในธรรมชาติ แล้วนั้น ณ จุด นั้น นั่น! หรือ มาตรา มาดแม้น นั้น ฉะนั้น เช่นนั้น ย่อมเรียกว่า หรือถือกันว่า เป็นอุตระ! ”
#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ โมคคัลลานะ ‹ ?
返信削除“บางที ก็ควร จะต้องอ้าง จากที่ทำไว้ล่วงหน้า แล้ว นั้น เพราะการตีขลุมแสดงเหตุผล ตามอย่างที่พวกท่านทั้งปวง กระทำ จะว่ากันอย่างนี้ มันก็ง่ายดีไปอย่างหนึ่ง
คือ ไม่ต้องมาละเอียด ก็ทันกันง่าย ๆ เช่นนี้ ย่อม สบาย ตามแบบ ของคนที่จะกระทำให้บริบูรณ์ สมบูรณ์ นั้น
เมื่อไปอย่างนี้ แล้วนั้น เป็นอันสรุปเลยว่า เป็นเรื่องของอากาศหนาว และเรื่อง สีขาว! มาแต่ชั้น๑ ไปถึง ซึ่งสีแดง อันสีแดง! ก็ย่อมต้องไปอยู่กลางโลกโน่น ตรงไหน? หนาว! ก็มี ผ้าห่มสีกะเฬียวร์ ผ้าเตี่ยวพระย้อมสีอิฐแดง ก็มี ไว้ให้ ใครมาถึง ก็เปรียบตนว่า ฉันนี้ ว่าการแทน อยู่กับพระมหาโมคัลลานะ ว่างั้นก็ได้ เพราะตนจะไปดี กับตำรานี้” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “โมคคัลลานะ” ดูอ้าง rb.gy/uzrxpp )
ถาม-ตอบความ คำศัพท์โวหาร
返信削除“เข้าใจว่า การบ้านที่แท้สำหรับภูเขาสำคัญ ๆ ก็คือ การ ว่า คำว่าเหนือ แต่! ข้อแม้อย่างหนึ่งก็คือ คำว่ายอด หรือเหนือ ฉะนั้น คงอาจจะเป็นภูเขาไฟ ก็อาจจะต้องคิด ลงในสำนวน หรือการวิจัย ที่ตีแผ่ กันโดยทางภาษา
ดังนี้ ด้วยทิศต่าง ๆ ว่าไปแล้ว คือหมายความว่า ทักษิณา คือเบื้อง ขวา เบื้อง หน้าตะวันออก อุตระ คือ ทิศเหนือ คือทีนี้ บางคน นั่น ว่า ยอดภูเขา คือ เหนือ! บนยอดภูเขา นั่นแหละคือ ‘ทิศเหนือ’ ตลบคว่ำ ตลบหงาย หมดที่นี้ อันนี้ก็ต้องมีนัย คือนัย ที่เราต้องตีขลุม ชวนกันไป แล้วจะต้อง มาคิด พินิจดูว่า ภูเขานั้นมันมีโพลงไหม มันมีทวารไหม มันมีฤทธิ์ไหม?
ซึ่งคำเปรียบ ก็ย่อมได้มาแล้ว ๒ อย่าง ตามอธิบาย คือ ปะทุ- › ปะทุมะ กับการแทนด้วยเรื่อง อภิบุคคล ว่าคือพระอัครสาวก อย่างนี้ ท่านว่า พระสารีบุตร คือ ยอดภูเขาหิมาลัย เป็นทักษิณ คืออย่างนี้ ยังไม่ว่าด้วยเรื่องพระสังฆบิดร ที่เราพิจารณา ว่าด้วย การแทนที่เป็นสมเด็จพระสังฆราช ตามโวหาร ถึงเรื่องพระอัญญาโกญฑัญญะ กับพระมหากัสสปะ ที่ท่านเป็นสมเด็จพระสังฆราช
เรื่อง ที่ชวนพูดเช่นนี้ ก็เพราะเห็น ว่า หัวหน้าเรารับการบ้านไปแล้ว กระเดี๋ยว ก็คนจะสะเทิ้นน้ำ สะเทิ้นบก แล้วเหล่าชนทั้งปวง อาจจะไปไม่ตรงกัน ด้วยกับที่นี้ , ข้าพเจ้าก็ต้องอธิบายบ้าง บอกกับพวกเรา ที่สมมุติ เป็นอีกเหล่าหนึ่ง อันกระทำไปก็เพื่อ จะตัดแนวคิด ที่ฟุ้งเฟื้อย หรือที่เป็นฝอย น้อยทางสานประโยชน์ และเป็นอันที่ไม่พาให้สถิตมั่น ลงไปในทางความรู้ พื้นฐาน
อันเรื่องนี้ ซึ่งพระโมคคัลลาน์ พระอภิบุคคล ความก็ย่อมเปรียบ แสดงว่า ท่านเป็น อุตระ อยู่บน คือเหนือภูเขาไปนั่นเอง ซึ่งความก็ดั่งเปรียบท่านว่า เป็นทวาร อันมีฤทธิ์
ฉะนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะ ก็ย่อมจะได้ตำแหน่ง ณ ยอดภูเขาไฟ ณ ที่ใด อันหนึ่ง ไม่ใช่หิมาลัย นั้น เป็น อุตระ, แต่นี้ แล้ว สำนวน หรือแนวนึกคิดว่า เหนือยอดหิมาลัย คือทิศเหนือ! ย่อมไม่ใช่ เพราะแนวพิจารณาศัพท์ ไม่ให้!
คืออธิบาย ย่อมหมายความ ให้เห็นว่า พระสารีบุตร เป็น ทักษิณา (ทักษิณ=ใต้) เป็นอภิบุคคคล ทางขวา (ขาว) อยู่แต่เบื้องพระสัพพัญญูเจ้า แล้วนั้น ทุกขณะ (ทกฺขิณา), ฉะนั้น โวหารพวกหนึ่ง จะใคร่ว่า ทิศ เหนือ (เปรียบ) คือที่บนยอดภูเขา สูงขึ้นไป ทั้งยอดนั้น จะต้องเป็นอุตรา ไม่ได้อยู่แล้ว เพราะพระพุทธเจ้าตรัสว่า เป็นทักษิณา ฉะนั้น , เป็นทาง ขาว ทางขวา ทางใต้
แต่! ท่านจะอุปไมยฯ ให้ได้ตัวอย่างแก่สรรพวิชา ในธรรมชาติ ตามสมัยนั้น ๆ ก็จึงจำต้องแสดงว่า อนุมานหนึ่ง เป็น ภูเขาสีแดง (ที่ยอด) อันมีโพลง มีทวาร มียอด เป็นอันมีฤทธิ์ แล้วเมื่อมาถึงคำว่า มีฤทธิ์ คำนี้เอง ย่อมตกแต่อภิบุคคล คือ พระมหาโมคคัลลานะ สรุป!
แต่ว่า ท่านจะเปรียบสถิตย์ อยู่บนยอดภูเขาไฟที่ใด นั้น (เหนือ=อุตระ) ก็คงจะเป็นที่อินโดนีเซีย ดอกกระมัง เพราะที่ว่า ภูเขานั้น ได้แสดงฤทธิ์ ประกาศเสียง ให้สะเทือนอากาศมาถึง ทั่วโลก อยู่เรื่อย ๆ, เป็นซึ่งความตีแผ่ นัยชนิดนี้ ข้าพเจ้าคิดอย่างหนึ่งว่า อุตระ ศัพท์ อาจเป็น แผนกที่ไม่กำหนด ลงเป็นประจำ อย่างตราแผนที่
แต่นัยหนึ่ง ที่คือ อุตระ ย่อมหมายความว่า หนักทางฤทธิ์ เป็นอะไร? ที่เป็นนัย มี ฤทธามหาศาล สะเทิ้น กระเทือนรุนแรง เป็นปรากฏการณ์ซึ่งสั่นสะเทือนอังคาพยพ ไปในธรรมชาติ แล้วนั้น ณ จุด นั้น นั่น! หรือ มาตรา มาดแม้น นั้น ฉะนั้น เช่นนั้น ย่อมเรียกว่า หรือถือกันว่า เป็นอุตระ! ”