#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ นารัมมณ ‹ ?“เมื่อทุกท่าน จะตั้งข้อสังเกต ควรจะพึงต้องว่า๑ได้แก่๒แปลว่า๓หมายถึง๔คือ๕หมายความว่า จรดตน ไม่พึงนิยาม หากว่ามิใช่พระพุทธเจ้านิยามเอง นิยามใดเกิน ๕ จะไป ๖ แล้วนั้น ย่อมเป็นสิ่งหยาบคาย หรือเป็นเรื่องลามกทั้งสิ้น พวกเราอยู่ในคำตรัส เป็นอันดี ประกอบมาแต่สาราณียธรรม ยิ่งไม่ควร แก่อัน ที่จะต้องแสดงความทุกข์ของผู้อื่น โดยหยาบคายคติข้อนี้ น่าจะเห็นได้ต่อไปว่า เป็น อรรถะ หากท่านว่าเป็นอรรถะ แล้วนั้น ก็ย่อมเป็นธรรม และเมื่อเป็นธรรม แล้ว ย่อมถูกแก่ บท สัมมัตตนิยาม อันเป็นของพระเจ้ามหาสมมุติ กล่าวเป็นมูฬหภาษา ถึงจะว่า มาแต่มูลเดิมก็จริง แต่ฉะนั้น ก็เป็นเพราะ ท่านว่ากันถึงประโยชน์จะเปรียบอย่างไรหล่ะครับ ทุกท่านเอ๋ย เราเขา ที่ใด โมหะ ก็โมหะ แต่ว่าอรรถกถา ท่านก็แสดงไว้แล้ว ว่าเมื่อใครได้ว่าอุบาย หรือว่าได้ดำเนินตนไปในอุบาย (กุศล) ตนก็ย่อมไม่ตกอบาย หรือไปอบายเอาเป็นว่า ทุก ๆ ท่าน ว่า เจ้าอินเทอร์เน็ต นี้! เป็นกุศลไหมเล่า? ว่าสิ่งเดิม วัตถุประสงค์ คืออุบายหลักเดิมขั้นพื้นฐาน ของอินเทอร์เน็ต จริง ๆ ย่อมเป็นกุศลใช่ไหมเล่า เช่นนี้แล้ว มูลเดิม นั้นแหละ เราควรหาฝังจิต ฝากใจไปด้วยไปหมดแล้วด้วย หากว่า พวกเราเป็นไปตามมูลเดิมนั้น ๆ หากไปจริงอยู่ เราก็ย่อมไม่ตกอบาย เพราะท่านชี้อยู่แล้วว่า ผู้ดำเนินอยู่ในอุบาย หรือโดยอุบาย เป็นกุศล ก็ย่อมกล่าวได้ ตามจริงว่า ยังไม่ตกไปในอบาย หรือว่าได้ดำเนินตนไปสู่อบายมา ณ มูลภาษา ตามที่ข้าพเจ้าคิดว่า ดีที่สุด จากที่ได้พิจารณา เป็นปัจจุบัน แล้วนี้ ก็คือ ข้อ๔ และ ข้อ๑ ว่าเป็นที่สมควรพิจารณาเอา ธรรม! มาเป็นอรรถะ แต่ไม่ควรว่าพิจารณาเอาอรรถะ นั้น ๆ มาว่า เป็น ธรรม! เพราะว่ามูลเดิม หรือเรื่อง ย่อมเป็นแต่สัมมัตตนิยาม อยู่แล้ว ฉะนั้น ก็ไม่จำเป็น ที่จะว่าอะไรหรือ?ที่เป็น อรรถะ เพราะได้ละไว้ในฐานที่เข้าใจ” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “นารัมมณ” ดูอ้าง rb.gy/3z3ihx )
#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ นารัมมณ ‹ ?
返信削除“เมื่อทุกท่าน จะตั้งข้อสังเกต ควรจะพึงต้องว่า
๑ได้แก่
๒แปลว่า
๓หมายถึง
๔คือ
๕หมายความว่า
จรดตน ไม่พึงนิยาม หากว่ามิใช่พระพุทธเจ้านิยามเอง นิยามใดเกิน ๕ จะไป ๖ แล้วนั้น ย่อมเป็นสิ่งหยาบคาย หรือเป็นเรื่องลามกทั้งสิ้น พวกเราอยู่ในคำตรัส เป็นอันดี ประกอบมาแต่สาราณียธรรม ยิ่งไม่ควร แก่อัน ที่จะต้องแสดงความทุกข์ของผู้อื่น โดยหยาบคาย
คติข้อนี้ น่าจะเห็นได้ต่อไปว่า เป็น อรรถะ หากท่านว่าเป็นอรรถะ แล้วนั้น ก็ย่อมเป็นธรรม และเมื่อเป็นธรรม แล้ว ย่อมถูกแก่ บท สัมมัตตนิยาม อันเป็นของพระเจ้ามหาสมมุติ กล่าวเป็นมูฬหภาษา ถึงจะว่า มาแต่มูลเดิมก็จริง แต่ฉะนั้น ก็เป็นเพราะ ท่านว่ากันถึงประโยชน์
จะเปรียบอย่างไรหล่ะครับ ทุกท่านเอ๋ย เราเขา ที่ใด โมหะ ก็โมหะ แต่ว่าอรรถกถา ท่านก็แสดงไว้แล้ว ว่าเมื่อใครได้ว่าอุบาย หรือว่าได้ดำเนินตนไปในอุบาย (กุศล) ตนก็ย่อมไม่ตกอบาย หรือไปอบาย
เอาเป็นว่า ทุก ๆ ท่าน ว่า เจ้าอินเทอร์เน็ต นี้! เป็นกุศลไหมเล่า? ว่าสิ่งเดิม วัตถุประสงค์ คืออุบายหลักเดิมขั้นพื้นฐาน ของอินเทอร์เน็ต จริง ๆ ย่อมเป็นกุศลใช่ไหมเล่า เช่นนี้แล้ว มูลเดิม นั้นแหละ เราควรหาฝังจิต ฝากใจไปด้วย
ไปหมดแล้วด้วย หากว่า พวกเราเป็นไปตามมูลเดิมนั้น ๆ หากไปจริงอยู่ เราก็ย่อมไม่ตกอบาย เพราะท่านชี้อยู่แล้วว่า ผู้ดำเนินอยู่ในอุบาย หรือโดยอุบาย เป็นกุศล ก็ย่อมกล่าวได้ ตามจริงว่า ยังไม่ตกไปในอบาย หรือว่าได้ดำเนินตนไปสู่อบาย
มา ณ มูลภาษา ตามที่ข้าพเจ้าคิดว่า ดีที่สุด จากที่ได้พิจารณา เป็นปัจจุบัน แล้วนี้ ก็คือ ข้อ๔ และ ข้อ๑ ว่าเป็นที่สมควรพิจารณาเอา ธรรม! มาเป็นอรรถะ แต่ไม่ควรว่าพิจารณาเอาอรรถะ นั้น ๆ มาว่า เป็น ธรรม! เพราะว่ามูลเดิม หรือเรื่อง ย่อมเป็นแต่สัมมัตตนิยาม อยู่แล้ว ฉะนั้น ก็ไม่จำเป็น ที่จะว่าอะไรหรือ?ที่เป็น อรรถะ เพราะได้ละไว้ในฐานที่เข้าใจ” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “นารัมมณ” ดูอ้าง rb.gy/3z3ihx )