2020年7月29日水曜日

Rueang Chaya Phra 00:12


❝Siamese Language …

1 件のコメント:

  1. คำหลัก แต่เริ่มเดิมมา ท่านว่า
    “พระมหากัสสปะชักชวนสังคายนา แต่ท่านไม่ขอกล่าว ท่านว่า ขอทรงจำไว้แต่ที่ได้รับมาเฉพาะพระพักตร์ แล้วดำเนินการไปเอง”

    เช่นนี้ สรุป! เหตุการณ์ ว่านิกายก็น่าที่จะ พึงมี ด้วย ๒ ประการ นี้คือ

    ๑. ณ ที่สมมุติประชุมแล้ว กระทำมติ ว่าตามมติ
    ๒. เข้าที่รับมาเฉพาะพระพักตร์ แล้วท่านไม่ขอกล่าวด้วย

    ดังนี้ จะเห็นได้ว่า ศัพท์ “นิกาย”

    ท่านย่อมแทนการเรียก ไปอย่างคนภายนอก ยกชื่อนั้นขึ้นเรียก ขนานนาม กันไป ลงตามข้อสมมุติสังเกต นั้น ๆ เช่นปัจจุบันนี้ ที่มักขนานนาม กันไปว่า มี ๔ นิกาย นี้ คือ นิกายไม่เอารูปเคารพ, นิกายกินผัก, นิกายถือด้วยตำรา และนิกายไม่ถือด้วยตำรา (ถือมุขบาฐ) เป็นต้น ว่าดั่งนี้ ก็ไว้เป็นอย่าง ๑

    แล้ว อีกประการหนึ่ง ฉะนั้น ก็กล่าวอยู่แล้ว คือยันกันขึ้น เป็นที่เกียจกัน ต่อกัน ว่า นั่นเป็นสมานสังวาส หรือ นานาสังวาส อันนี้ก็นับว่าเป็นชื่อนิกาย ที่ในวงนักบวช ว่ากล่าวกันเอง ในปวงท่าน หรือเราประชาชนที่รู้เห็น ไม่ได้เป็นผู้ยกชื่อ กล่าวแสดง หรือได้ขนานนามท่านขึ้น แต่ประการไร ๑

    ข้อประการ ถึงท้าย นี้ ก็คือมุ่งไปตามกล วิธี หรือกโลกบาย ดั่งอุปมา ว่า คือคนทั่วให้ถือดั่งเรื่องที่รับมาเฉพาะพระพักตร์ ฉะนั้นเอง แปลกแต่ว่ากรรมฉะนั้นรับมาต่อหน้าอาจารย์ ไม่ใช่ต่อหน้าพระพุทธเจ้า ครั้งเมื่อ ว่าตามอาจารย์นั้นแล้ว นี้แล้ว ตนไม่ขอมุ่งกล่าวด้วย กับลัทธิ หรือนิกายอื่น

    พอว่าหมดแล้ว จบเป็นที่ไม่รับด้วยมติ ก็ย่อมเป็นนิกาย อีกอันหนึ่ง ซึ่งไม่เป็นทั้งสมานสังวาส และนานาสังวาส , จรดสิ่งทั้งปวง ไปถึงส่วน คำศัพท์ นิกาย? ในทุก ๆ ทาง ศาสนาอื่น ๆ หากเขาว่ากันมากเข้า โดยย่อ ก็คงต้อง ๒ อย่างเหมือนกัน คือ ๑ นิกายที่ตั้งโดยราชา หรือรัฐฯ แล้วอีก ๑ ก็คือ ที่กล่าวสามัญว่าเป็นสำคัญ ว่าคนได้ตั้งขึ้นไว้ได้นั้น เป็นเพราะการธำรงตนได้ของนักบวช

    返信削除